Topic Progress:

Process Tax Input – ขั้นตอนการบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวกับรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม

              ขั้นตอนในการบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวกับรายการภาษีมูลค่าเพิ่มบน SAP B1 สามารถบันทึกข้อมูล “ด้านซื้อ หรือ ภาษีซื้อ” ซึ่งมีรายละเอียดและเงื่อนไขต่าง ๆ ดังนี้

  1. กลุ่มภาษีซื้อที่เกิดขึ้นและมีการบันทึกทันที มีดังนี้
    • P0700I = อัตราภาษีซื้อ 7 %
    • P0000I = อัตราภาษีซื้อ 0 %
    • P0000E = อัตราภาษีซื้อยกเว้น
    • P0700P = อัตราภาษีซื้อ 7 % ภพ.36
  2. กลุ่มภาษีซื้อที่ยังไม่มีการบันทึกและถูกบันทึกไว้เป็นภาษีที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ดังนี้
    • P0700S = อัตราภาษีซื้อยังไม่ถึงกำหนดชำระ 7 %
  3. กลุ่มรายการที่ไม่มีการบันทึกภาษี ดังนี้
    • X1         = ใช้กรณีเอกสารด้านจ่ายไม่มีการบันทึกภาษี
  4. หน้าจอที่จะบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม
    • AP Invoice
    • AP Reserve Invoice
    • AP Down Payment
    • AP Credit Memo
    • Journal Entry
    • Outgoing Payment
  5. การบันทึกข้อมูลภายใต้เอกสาร 1 รายการ จะสามารถใส่ข้อมูลของกลุ่มภาษีได้เพียง 1 รหัสภาษี เท่านั้น **ยกเว้นรายการที่มีการบันทึกผ่านหน้าจอ Journal Entry
  6. ข้อมูลที่สามารถนำไปบันทึกการกลับรายการภาษีที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระนั้นได้ ที่หน้าจอ UDO : Reverse Tax Input
  7. ขั้นตอนการบันทึก
    • ผ่านหน้าจอ Purchasing A/P

ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลผ่านหน้าหน้าจอ Module : Purchasing A/P

Tab : Contents

Tab : Logistics

Tab : Accounting

ความหมายของฟิลด์และฟิลด์ที่จำเป็นต้องใส่ข้อมูล

Fields NameDescription
Nameชื่อ Vendor ที่ออกในใบกำกับภาษี
Vendor Ref. No.เลขที่ใบกำกับภาษี(กรณีบันทึกภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ วันที่บันทึกรายการทันที)
Posting Dateวันที่ที่บันทึกรายการตาม G/L Account
Document Dateวันที่ตามใบกำกับภาษี
Branch Ref.เลขที่สาขา (หากBP Masterของรายนั้น ๆ มีการบันทึกข้อมูลไว้แล้วผู้ใช้สามารถคลิก ⌕ เพื่อให้ระบบดึงข้อมูลมาแสดงให้อัตโนมัติ)
Get Tax Invoiceฟิลด์สำหรับการระบุให้บันทึก เลขใบกำกับภาษี จากระบบอัตโนมัติ ซึ่งจะแสดงค่าเป็น No / Yes
Tab : Contents
Tax Codeกลุ่มรหัสภาษีมูลค่าเพิ่ม **1 เอกสาร 1 Tax Code เท่านั้น
Tab : Logistic
Bill Toที่อยู่ตามใบกำกับภาษี
Tab : Accounting
Federal Tax IDเลขที่ประจำตัวผู้เสียภาษีตามใบกำกับภาษี
  • ผ่านหน้าจอ Module : Financials

ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลผ่านหน้าหน้าจอ Module : Financials

แบบที่ 1 บันทึกรายการภาษีที่หน้า Journal Entry ของ Tax Input แบบไม่ต้องการนำไปทำชำระต่อ

ความหมายของฟิลด์และฟิลด์ที่จำเป็นต้องใส่ข้อมูล

Fields NameDescription
Posting Dateวันที่ที่บันทึกรายการตาม G/L Account
สำหรับข้อมูล Detail ระบบจะยึดจาก Row ที่ระบุเป็นบัญชี “ภาษีซื้อ”
GL Accountระบุรหัสบัญชี ภาษีซื้อ/ภาษีขาย
Debit / Creditระบุมูลค่าภาษีซื้อ
Tax Groupกลุ่มรหัสภาษีมูลค่าเพิ่ม
Get Tax Invoiceฟิลด์สำหรับการระบุให้บันทึก เลขใบกำกับภาษี จากระบบอัตโนมัติ ซึ่งจะแสดงค่าเป็น No / Yes
Group Tax Invoiceฟิลด์สำหรับการจัดกลุ่มการ Running เลขใบกำกับภาษี จากระบบอัตโนมัติ ซึ่งระบบจะแสดงค่าเป็น 1
TAX Doc No.เลขที่ใบกำกับ
TAX Dateวันที่ตามใบกำกับภาษี (กรณีภาษีขายจะเป็นวันที่เดียวกันกับPosting Date)
Federal Tax IDเลขที่ประจำตัวผู้เสียภาษีตามใบกำกับภาษี
BP Codeสามารถเลือก Vendor Code จากในระบบได้
Nameชื่อ Vendor ที่ออกในใบกำกับภาษี (หากBP Masterของรายนั้น ๆ มีการบันทึกข้อมูลไว้แล้วผู้ใช้สามารถคลิก ⌕ เพื่อให้ระบบดึงข้อมูลมาแสดงให้อัตโนมัติ)
Addressที่อยู่ตามใบกำกับภาษี (หากBP Masterของรายนั้น ๆ มีการบันทึกข้อมูลไว้แล้วผู้ใช้สามารถคลิก ⌕ เพื่อให้ระบบดึงข้อมูลมาแสดงให้อัตโนมัติ)
Branch Ref.เลขที่สาขา (หากBP Masterของรายนั้น ๆ มีการบันทึกข้อมูลไว้แล้วผู้ใช้สามารถคลิก ⌕ เพื่อให้ระบบดึงข้อมูลมาแสดงให้อัตโนมัติ)

แบบที่ 2 :บันทึกรายการภาษีซื้อไม่ถึงกำหนด (Deferred Input Tax) ที่หน้า Journal Entry แบบที่ต้องไปทำชำระต่อ ก่อนทำการ Reverse

Fields NameDescription
Posting Dateวันที่ที่บันทึกรายการตาม G/L Account
GL Accountระบุรหัส Customer/Vendor
Federal Tax IDFederal Tax ID
Tax Groupกลุ่มรหัสภาษีมูลค่าเพิ่ม
Get Tax Invoiceฟิลด์สำหรับการระบุให้บันทึก เลขใบกำกับภาษี จากระบบอัตโนมัติ ซึ่งจะแสดงค่าเป็น No / Yes
Group Tax Invoiceฟิลด์สำหรับการจัดกลุ่มการ Running เลขใบกำกับภาษี จากระบบอัตโนมัติ ซึ่งระบบจะแสดงค่าเป็น 1
TAX Doc No.เลขที่ใบกำกับ
TAX Dateวันที่ตามใบกำกับภาษี (กรณีภาษีขายจะเป็นวันที่เดียวกันกับPosting Date)
Federal Tax IDเลขที่ประจำตัวผู้เสียภาษีตามใบกำกับภาษี
BP Codeสามารถเลือก Customer/Vendor Code จากในระบบได้
Nameชื่อ Customer/Vendor ที่ออกในใบกำกับภาษี (หากBP Masterของรายนั้น ๆ มีการบันทึกข้อมูลไว้แล้วผู้ใช้สามารถคลิก ⌕ เพื่อให้ระบบดึงข้อมูลมาแสดงให้อัตโนมัติ)
Addressที่อยู่ตามใบกำกับภาษี (หากBP Masterของรายนั้น ๆ มีการบันทึกข้อมูลไว้แล้วผู้ใช้สามารถคลิก ⌕ เพื่อให้ระบบดึงข้อมูลมาแสดงให้อัตโนมัติ)
Branch Ref.เลขที่สาขา (หากBP Masterของรายนั้น ๆ มีการบันทึกข้อมูลไว้แล้วผู้ใช้สามารถคลิก ⌕ เพื่อให้ระบบดึงข้อมูลมาแสดงให้อัตโนมัติ)